บทที่ 4 การตรวจสอบหลังการประกอบเครื่อง
สาระสำคัญ
เมื่อประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในเครื่องเรียบร้อยแล้ว การตรวจสอบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อป้องกัน ข้อผิดพลาดหรือความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น ทำให้การตรวจสอบอุปกรณ์และการทดลองเปิดเครื่องแล้วลองสังเกตอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น
เรื่องที่จะศึกษา
- การตรวจสอบความเรียบร้อยทั่วไป
- การตรวจสอบการทำงานของวสิตซ์เปิด ปิดเครื่อง
- การตรวจสอบดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม และคีย์บอร์ด
- ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและวิธีการแก้ไข
-ตรวจสอบสเปคเครื่องขญะที่ทำการบูต
จุดประสงค์การเรียนรู้
- ตรวจสอบความเรียบร้อยหลังการประกอบเครื่องได้
- ตรวจสอบการทำงานของสวิตซ์เปิด ปิดเครื่องได้
- ตรวจสอบการทำงานของดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม และคีย์บอร์ดได้
- ตรวจสอบปัญหาที่เกิดขึ้นและการแก้ไขได้
- ตรวจสอบสเปคเครื่องขณะที่ทำการบูตได้
การแก้ปัญหาหลังการประกอบเครื่อง
สำหรับมือใหม่ที่พึงหัดประกอบเครื่องครั้งแรก ซึ่งยังขาดความเชี่ยวชาญในการประกอบชิ้นส่วนต่างๆ เมื่อเปิดเครื่องครั้งแรกหลังจากประกอบเสร็จใหม่ๆก็คงจะตื่นเต้นไม่น้อย เพราะไม่รู้ว่าเครื่องจะทำงานได้หรือไม่ ถ้าทำงานได้ปกติก็ถือว่าสำเร็จ แต่ถ้าเกิดมีปัญหาขึ้นมาจะแก้ไขอย่างไร ???
ปกติแล้วเมื่อเครื่องมีปัญหาก็จะแสดงอาการแปลกๆให้เราทราบเช่นมีเสียงร้องออกมา หรือไม่ก็มีข้อความปรากฏที่หน้าจอ หรืออาจจะแสดงอาการที่เราสามารถตรวจซ่อมได้ เช่น เครื่องไม่ทำงาน พัดลมไม่หมุน เครื่องมองไม่เห็นฮาร์ดดิสก์ ฯลฯ ก็ไม่ต้องตกใจครับเพราะทุกอย่างแก้ไขได้ไม่ยาก เพียงแต่ต้องศึกษาและหาประสบการณ์กันสักนิด ก็จะรู้ ปัญหาคอมพิวเตอร์หลายๆอย่างแก้ไขได้ไม่ยาก แนะนำว่าเมื่อเครื่องมีปัญหา ก่อนอื่นให้สำรวจดูขั้นตอนการประกอบชิ้นส่วนต่างๆอีกครั้ง สายไฟ สายสัญญาณเสียบแน่นดีแล้วหรือไม่ ต่อถูกด้านหรือเปล่า
ตรวจสอบปุ่ม Power/RESET และการทำงานของหลอด LED
เมื่อกดปุ่ม Power เพื่อเปิดเครื่อง หลอดไฟ Power ที่หน้าเครื่องซึ่งมีสีเขียวจะต้องสว่าง จากนั้นให้ลองกดปุ่ม RESET เพื่อให้เครื่องเริ่มบู๊ตใหม่ แล้วก็ปล่อยให้เครื่องทำงานในกระบวนการต่อไป แล้วสังเกตดูว่าไฟฮาร์ดดิสก์ที่หน้าเครื่อง ซึ่งมีสีแดงจะต้องติดๆดับๆ เพื่อแสดงว่าฮาร์ดดิสก์มีการอ่านข้อมูล ถ้าเครื่องของคุณเป็นลักษณะนี้ก็แสดงว่าเสียบสายสัญญาณถูกต้อง ถ้าไม่ติดก็แสดงว่าเสียบสายสัญญาณผิด อาจเสียบสลับกัน เพราะฉะนั้นให้ลองเปิดคู่มือเมนบอร์ดแล้วตรวจดูตำแหน่งการเสียบสายอีกครั้ง
เช็คฮาร์ดแวร์ในกระบวนการ POST
ที่ห้าจอแรกนี้จะแสดงข้อมูลของการ์ดแสดงผลที่ใช้ในเครื่อง ได้แก่ ยี่ห้อ, รุ่นของชิป CPU, ชนิดของ Slot ติดตั้ง,ขนาดของแรมบนการ์ด, เวอร์ชันของ BIOS ที่ใช้บนการ์ด
โดยเริ่มจากมีเสียงบี๊บดัง 1 ครั้งแสดงว่าเครื่องทำงานปกติ (แต่ถ้าได้ยินมากกว่า 1 ครั้งให้รีบปิดเครื่องทันที) จากนั้นเครื่องจะตรวจนับแรม รุ่นและความเร็วของซีพียู ต่อไปก็จะทำการตรวจสอบฮาร์ดดิสก์ และซีดีรอมไดรว์ต่อไป
เมื่อคุณพบหน้าจอดังรูปให้กดปุ่ม <Break/Pause> เพื่อหยุดหน้าจอแล้วตรวจดูว่ามีอุปกรณ์ครบหรือไม่ เช่น รุ่นและความเร็วของ CPU ขนาดของหน่วยความจำ Cache ฟล๊อบปี้ดิสก์ไดรว์ รุ่นของฮาร์ดดิสก์และซีดีรอมไดรว์ เป็นต้น จากนั้นก็กดปุ่มใดก็ได้เพื่อให้เครื่องทำงานต่อ
ที่ห้าจอแรกนี้จะแสดงข้อมูลของการ์ดแสดงผลที่ใช้ในเครื่อง ได้แก่ ยี่ห้อ, รุ่นของชิป CPU, ชนิดของ Slot ติดตั้ง,ขนาดของแรมบนการ์ด, เวอร์ชันของ BIOS ที่ใช้บนการ์ด
โดยเริ่มจากมีเสียงบี๊บดัง 1 ครั้งแสดงว่าเครื่องทำงานปกติ (แต่ถ้าได้ยินมากกว่า 1 ครั้งให้รีบปิดเครื่องทันที) จากนั้นเครื่องจะตรวจนับแรม รุ่นและความเร็วของซีพียู ต่อไปก็จะทำการตรวจสอบฮาร์ดดิสก์ และซีดีรอมไดรว์ต่อไป
เมื่อคุณพบหน้าจอดังรูปให้กดปุ่ม <Break/Pause> เพื่อหยุดหน้าจอแล้วตรวจดูว่ามีอุปกรณ์ครบหรือไม่ เช่น รุ่นและความเร็วของ CPU ขนาดของหน่วยความจำ Cache ฟล๊อบปี้ดิสก์ไดรว์ รุ่นของฮาร์ดดิสก์และซีดีรอมไดรว์ เป็นต้น จากนั้นก็กดปุ่มใดก็ได้เพื่อให้เครื่องทำงานต่อ
เสียงเตือนจาก BIOS (Beep Code)
ไฟสัญญาณที่หน้าเครื่องดับสนิท
รวบรวมปัญหาต่างๆที่พบได้บ่อยๆกับการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยได้พยายามรวบรวมปัญหาที่พบเห็นกันบ่อยๆ และนำมาสรุปให้เป็นแนวทางสำหรับการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น หวังว่าจะมีประโยชน์กับคนอื่นๆได้บ้าง
1. ปัญหาของ Windows
- หลังจาก Setup Windows ใหม่ แล้วเกิดการค้าง ไม่ยอมทำการ Setup ต่อไป
เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ แต่สิ่งหนึ่งที่พบบ่อยๆ คือการตั้งค่า Virus Warning ใน bios ไว้ ทำให้เครื่องไม่สามารถเขียนข้อมูลทับลงบนส่วนของ boot record ของฮาร์ดดิสก์ได้ ให้ลองแก้ใน bios ตั้งให้เป็นDisable ไว้ก่อน และหลังจากทำการ Setup Windows เสร็จแล้วค่อยตั้งเป็น Enable ใหม่
- หลังจาก Setup Windows จะขึ้นข้อความ Windows Protection Error
ที่พบบ่อยๆมากคือ ปัญหาของ RAM อาจจะเป็นเฉพาะช่วงที่ทำการ Setup Windows เท่านั้น (โดยที่ปกติก่อน Setup Windows จะใช้งานได้ ไม่เป็นอะไร) ให้ทดลองหา RAM มาเปลี่ยนใหม่ดู หรือหากเป็นSDRAM ให้ทดลองตั้งค่าใน bios ค่าของ CAS จากที่ตั้งเป็น 2 ลองตั้งเป็น 3 ดู อาจจะช่วยแก้ปัญหาได้บ้าง
2. ปัญหาของ ฮาร์ดแวร์
- RAM หายไปไหนเนี่ย ใส่เข้าไป 32 M. ทำไม Windows บอกว่ามี 28 M. เอง??
อาการของ RAM หายไปดื้อๆ จะเกิดกับการใช้เมนบอร์ดรุ่นที่มี VGA on board นะครับ ที่จริงก็ไม่ได้หายไปไหนหรอก เพียงแต่ส่วนหนึ่งของ RAM จะถูกนำไปใช้กับ VGA ครับ และขนาดที่จะโดนนำไปใช้ก็อาจจะเป็น 2M, 4M หรือ 8M ก็ได้ขึ้นอยู่กับการตั้งใน BIOS ครับ
- ใช้เครื่องได้สักพัก มักจะแฮงค์ พอปิดเครื่องสักครู่แล้วเปิดใหม่ ก็ใช้งานต่อได้อีกสักพักแล้วก็แฮงค์อีก
อาจจะเกิดจากความร้อนสูงเกินไป อย่างแรกให้ตรวจสอบพัดลมต่างๆว่าทำงานปกติดีหรือเปล่า หากเครื่องทำ Over Clock อยู่ด้วยก็ทดลองลดความเร็วลงมา ใช้แบบงานปกติดูก่อนว่ายังเป็นปัญหาอยู่อีกหรือเปล่า ถ้าใน bios มีระบบดูความร้อนของ CPU หรือ Main Board อยู่ด้วยให้สังเกตค่าของ อุณหภูมิ ว่าสูงเกินไปหรือเปล่า ทั้งนี้อาจจะทำการเพิ่มการติดตั้งหรือเปลี่ยนพัดลมของ CPU ช่วยด้วยก็ดี
- มีข้อความ BIOS ROM CHECK SUM ERROR ตอนเปิดเครื่อง
อาการนี้ส่วนใหญ่เกิดจากถ่านของ BIOS หมดหรือเกิดการหลวมครับ ให้ลองขยับถ่านให้แน่นๆดูก่อน ถ้าไม่หายก็ต้องลองเปลี่ยนถ่านบนเมนบอร์ดดู (ก่อนเปลี่ยนถ้ามี Meter วัดไฟดูก่อนก็ดี) หลังจากเปลี่ยนแล้วให้ทำการ Clear BIOS Jumper ก่อนด้วย จะเป็น Jumper ใกล้ๆกับ IC BIOS นั่นแหละ ทำการ Jump ค้างไว้สัก 5 วินาทีแล้วก็ Jump กลับที่เดิมก่อน หลังจากนั้นต้องเข้าไปตั้งค่าต่าง ๆ ของ BIOS ใหม่ด้วย
- ลืม Password ของ BIOS จะทำยังไงดี
ให้ทำการถอดถ่านของ BIOS ออกสักครู่ แล้วใส่กลับเข้าไปใหม่ ทำการ Clear Jumper BIOS ก่อนด้วย หรือลองดูวิธีการ Clear/Reset Password ของ BIOS
- ซื้อฮาร์ดดิสก์มาขนาดใหญ่ๆ แต่หลังจากทำการ Format แล้วเครื่องมองเห็นแค่ 2G
อย่างแรกให้ดูก่อนเลยว่า ใช้ระบบ FAT16 หรือ FAT32 ถ้าหากเป็น FAT16 จะมองเห็นได้สูงสุดแค่ 2Gต่อ 1 Partition เท่านั้น ต้องใช้แบบ FAT32 ครับ
วิธีการคือใช้ FDISK ของแผ่น Startup Disk WIN98 มาทำ FDISK (ถ้าเป็น FDISK จาก DOS หรือWIN95 จะเป็นแบบ FAT16)
- ไม่สามารถใช้งานฮาร์ดดิสก์ได้มากกว่า 8G. สำหรับเมนบอร์ดรุ่นเก่าๆ
เกิดจากที่ BIOS ไม่สามารถรู้จักกับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาดใหญ่ๆได้ จะเป็นกับเมนบอร์ดรุ่นเก่าๆ ที่เคยพบมาอีกแบบคือ Windows มองเห็นเกิน 8G แต่ไม่สามารถใช้งานได้ จะบอกว่าฮาร์ดดิสก์ของเราเต็ม
วิธีแก้ไขอย่างแรกคือ ให้ลองทำการ Update BIOS เป็น Version ใหม่ดูก่อน (ถ้าหาได้) หรือไม่ก็หาDownload โปรแกรมสำหรับจัดการพื้นที่ฮาร์ดดิสก์ จากเวปไซต์ของผู้ผลิตฮาร์ดดิสก์ยี่ห้อนั้นๆ หรืออาจจะใช้วิธีการแบ่ง Partition ให้มีขนาดใหญ่ไม่เกิน 8G ต่อ 1 Partition ก็อาจจะช่วยได้
3. ปัญหาของ ซอฟต์แวร์
- หลังจากลงโปรแกรมป้องกันไวรัส McAfee 4.0.3 แล้วไม่สามารถบูทเข้า Windows ได้
เท่าที่พบจะเกิดกับบางเครื่องเท่านั้น ปัญหาเกิดจากหลังจากที่เราติดตั้ง McAfee ลงไปแล้ว เครื่องจะทำการ Scan ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์โดยใส่เป็น Batch File ไว้ในไฟล์ autoexec.bat ซึ่งบางครั้งจะเป็นปัญหาทำให้ค้าง ไม่ยอมเข้า Windows ต่อไป
วิธีแก้ไขคือ ให้เปิดเครื่องเข้าใน MS-DOS Mode โดยกดปุ่ม F8 ค้างไว้ขณะเปิดเครื่อง จะเข้ามาที่เมนูMicrosoft Windows 98 Startup Menu
เลือกข้อ 6. sefe mode command prompt only แล้วใช้คำสั่ง "edit autoexec.bat" เพื่อแก้ไขไฟล์โดยให้ลบบรรทัดที่มีคำสั่ง scan.exe ออกครับ ทำการ save file แล้วทดลองบูทเครื่องใหม่อีกครั้ง
- พิมพ์หน้า Web Page ออกเครื่องพิมพ์แบบ Ink Jet เป็นภาษาไทยไม่ได้ จะมีแต่ภาษาอังกฤษ
ส่วนใหญ่ปัญหานี้จะเกิดกับการใช้เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ทรุ่นใหม่ๆ
วิธีแก้ไขคือ ให้ลองหา Download Driver รุ่นใหม่ๆของเครื่องพิมพ์จาก Web Site ของเครื่องพิมพ์นั้นๆ เพราะบางครั้งอาจจะมีการแก้ไขปัญหานี้แล้ว หรือไม่ก็ใช้วิธีเข้าไปตั้งค่า Regional Settings ที่ Control Panel เป็น English (USA) ก่อน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วก็เปลี่ยนกลับมาเป็น Thai เหมือนเดิม การตั้งค่าก็ทำโดยกดที่ Start เมนู >> Settings >> Control Panel เลือกที่ Regional Settings เปลี่ยนเป็น English (USA)
- สั่ง Defrag Hard Disk แล้วไม่ยอมเสร็จ จะกลับมาเริ่มต้นใหม่ วนแบบนี้อยู่เรื่อยๆ
สาเหตุเกิดจากมีโปรแกรมบางตัวทำงานอยู่ในเวลานั้นด้วย และสั่งเขียนข้อมูลลงบนฮาร์ดดิสก์ เช่นScreen Saver, Winamp หรือพวก Anti Virus บางตัว ให้ทำการปิดโปรแกรมเหล่านี้ให้หมดก่อน หรืออาจจะใช้วิธีเข้า Windows ใน Self Mode (กด F8 ตอนเปิดเครื่องแล้วเลือก Self Mode)
4. Eror massage
- 8042 GATE-A20 ERROR
เป็นปัญหาที่ชิพควบคุมการทำงานของคีย์บอร์ด ซึ่งเรียกว่า 8042 Keyboard Controller ให้คุณลองเปลี่ยนคีย์บอร์ดตัวใหม่ดูก่อน ถ้ายังไม่หาย แสดงว่าเป็นปัญหาที่ตัวชิพ 8042 บนเมนบอร์ด ถ้าเป็นอย่างนั้นคงต้องเปลี่ยนชิพ 8042 หรือเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- 8087 NMI XXXX.XXXX.TYPE(S)HUT OFF NMI,(R)EBOOT,OTHER KEYS TO CONTINUE
แสดงว่ามีปัญหาที่ Math Coprocessor ให้ลองใช้โปรแกรมทดสอบ Math Coprocessor ทดสอบดู ถ้าไม่ผ่านให้เปลี่ยน Math Coprocessor ซึ่งถ้าเป็นเมนบอร์ด 486 ก็คงสามารถทำได้ เพราะ Math Coprocessor จะแยกกับซีพียู แต่สำหรับเมนบอร์ดเพนเทียม Math Coprocessor จะรวมอยู่กับซีพียู
- ACCESS DENIED
ข้อความนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเขียนไฟล์ที่เป็น Read-Only หรือเขียนไฟล์ที่อยู่ในแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่Write-Protect แต่ถ้าเป็นไฟล์ที่ Read-Only เอาไว้ หากเป็นบน DOS ก็ให้ใช้คำสั่ง Attrib ของ DOS ในการยกเลิก Read-Only หากเป็นบน Windows 95 ก็ให้คลิกเม้าส์ขวาที่ไฟล์นั้น แล้วเลือก Properties คลิกเอาเครื่องหมายถูกออกจากช่อง Read-Only
- ALLOCATION ERROR,SIZE ADJUSTED
ข้อความผิดพลาดนี้เกิดจากการใช้คำสั่ง CHKDSK ซึ่งแสดงว่าขนาดของไฟล์ที่เป็นขนาดทางฟิสิคัล กับขนาดที่ได้กำหนดขึ้น (Allocate) ไม่ตรงกัน คุณควรจะแบ๊คอัพข้อมูลเก็บไว้ก่อนที่ความเสียหายจะเกิดขึ้น
- ATTEMPTED WRITE-PROTECT VIOLATION
ข้อความนี้จะเกิดจากการฟอร์แมตแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่ได้ Write-Protect เอาไว้ ถ้าคุณต้องการฟอร์แมตแผ่นจริงๆ ก็ให้ยกเลิก Write-Protect บนแผ่น
- BAD DMA PORT=XX
แสดงว่าชิพ DMA Controler บนเมนบอร์ดมีปัญหา คือไม่สามารถผ่านขั้นตอน Post ขณะเปิดเครื่องได้ วิธีแก้ไขคือให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่เลย
- BAD OR MISSING COMMAND INTERPRETER
แสดงว่าแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่ใช้บูต หรือฮาร์ดดิสค์ที่เป็นตัวบูตไม่มีไฟล์ Command.com อยู่ ให้คุณหาแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่มีไฟล์ระบบของ DOS อยู่มาบูตแทน ถ้าเป็นฮาร์ดดิสค์ที่ไม่มีไฟล์นี้อยู่ ก็ให้บูตจากแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ก่อน แล้วก๊อปปี้ไฟล์นี้เข้าไปไว้ในรูตของฮาร์ดดิสค์ที่ใช้บูต ข้อสำคัญคือ ระบบปฏิบัติการที่ใช้ฮาร์ดดิสค์ต้องเป็นตัวเดียวกัน และเวอร์ชั่นเดียวกันกับที่บูตจากแผ่นฟลอปปี้ดิสค์
- BAD PARTITION TABLE
ถ้าพบข้อความนี้ให้ลองแบ่งพาร์ติชั่นด้วยคำสั่ง FDISK ใหม่ ถ้ายังไม่หายอีก อาจจะเป็นไปได้ว่าเกิดจากไวรัสที่เข้าไปทำลายตารางพาร์ติชั่น ให้ใช้โปรแกรม Anti-Virus ลองสแกนฮาร์ดดิสค์ดู ถ้าไม่พบไวรัสก็คงต้องใช้เป็นวิธีสุดท้ายแล้วเท่านั้น เพราะการฟอร์แมตแบบนี้ไม่ค่อยดีเท่าใดนักสำหรับฮาร์ดดิสค์
- C:DRIVE ERROR
ปัญหานี้เกิดจากการเซต Type ใน CMOS Setup ไม่ตรงกับฮาร์ดดิสค์ที่ใช้อยู่ ไม่ได้เป็นเพราะฮาร์ดดิสค์เสียแต่อย่างใด ทำให้ CMOS ไม่สามารถกำหนดค่าของฮาร์ดดิสค์ไดรฟ์ C ได้ ให้คุณเข้าไปยัง CMOS Setup
- C:DRIVE FAILURE
ข้อความนี้แสดงว่าฮาร์ดดิสค์ไม่มีการทำงาน เป็นปัญหาที่ตัวฮาร์ดดิสค์โดยตรง ทำให้ไบออสไม่สามารถติดต่อกับฮาร์ดดิสค์ได้ อันดับแรกให้ลองตรวจสอบดูก่อนว่ามีเพาเวอร์เข้าไปยังฮาร์ดดิสค์หรือไม่ โดยดูว่าปลั๊กเพาเวอร์เสียบเข้ากับฮาร์ดดิสค์อย่างแน่นหนาหรือไม่ สายเคเบิลใช้งานได้หรือไม่ สายเคเบิลต่อกับฮาร์ดดิสค์ถูกต้องหรือไม่ ถ้าทำตามข้อต่างๆข้างต้นแล้วยังไม่ดีขึ้น ให้ลองฟอร์แมตแบบ Low Level ดู ถ้ายังไม่หายอีกคราวนี้ก็ต้องเปลี่ยนฮาร์ดดิสค์ใหม่
- CHCHE MEMORY BAD, DO NOT ENABLE CACHE
แคชบนเมนบอร์ดไม่ทำงาน ให้เปลี่ยนแคชใหม่
- CH-2 TIMER ERROR
ชิพ Timer บนเมนบอร์ดไม่ทำงาน ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- CMOS BATTERY STATE LOW
แสดงว่าแบตเตอรี่ที่ใช้แบ็คอัพ CMOS RAM มีกำลังไฟอ่อนลง ให้เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่
- CMOS CHECKSUM FAILURE
ตามปกติแล้วหลังจากที่มีการเซฟค่า CMOS RAM ที่ได้กำหนดไว้ ก็จะมีการสร้างค่า Checksum ขึ้นมา ซึ่งถ้าค่าเดิมกับค่าปัจจุบัน มีค่าแตกต่างกันก็จะมีการแจ้งข้อผิดพลาดข้างต้น วิธีแก้ไขคือให้เซตอัพไบออสใหม่ ถ้ายังไม่หายอีกก็แสดงว่าอาจเป็นปัญหาที่ชิพ CMOS ซึ่งอยู่บนเมนบอร์ด ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- CMOS DISPLAY TYPE MISMATCH
ค่าที่กำหนดชนิดของการ์ดแสดงผลในไบออสไม่ตรงกับชนิดของการ์ดแสดงผลที่ใช้อยู่ ซึ่งเป็นไปได้ว่าCMOS Setup กำหนดเป็น Mono แต่การ์ดแสดงผลที่ใช้อยู่เป็นแบบ VGA
- CMOS PORT DOES NOT EXIST
แสดงว่าพอร์ตอนุกรมมีปัญหา ให้ลองใช้โปรแกรมทดสอบว่าสามารถพบพอร์ดอนุกรมหรือไม่ ถ้าหาไม่พบ และไม่สามารถแก้ไขได้จริงๆ ให้ดูบนเมนบอร์ดว่ามีจัมเปอร์ที่ใช้สำหรับยกเลิกพอร์ตอนุกรมหรือไม่ ถ้ามี ให้จัมป์เพื่อยกเลิก แล้วในการ์ด I/O แทน
- DISK BAD
แสดงว่ามีปัญหาที่ฮาร์ดดิสค์ให้ตรวจอสอบว่าสายเคเบิลใช้ได้หรือไม่ และต่อเอาไว้เรียบร้อยหรือไม่ ให้ลองฟังเสียงและดูว่าแพล็ตเตอร์ของฮาร์ดดิสค์หมุนหรือไม่ ถ้าฮาร์ดดิสค์ไม่มีเสียงหมุน ให้ถอดปลั๊กเพาเวอร์ซัพพลายที่ต่อกับฮาร์ดดิสค์ออกแล้วเสียบเข้าไปใหม่ แต่ถ้ายังไม่ทำงานอีก โดยดูให้แน่ใจด้วยว่าเพาเวอร์ซัพพลายสามารถทำงานได้ปกติ ถ้าอาการไม่ดีขึ้นก็คงต้องส่งซ่อม
- DISK CONFIGURATION ERROR
สาเหตุจากการนำเอาฮาร์ดดิสค์รุ่นใหม่ๆมาใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่นเก่า โดยไบออสไม่สามารถรู้จักฮาร์ดดิสค์ที่ต่อได้ แต่ปัญหานี้สามารถแก้ไขได้โดยอัพเกรดไบออสให้เป็นเวอร์ชั่นใหม่
- DISK DRIVE 0 SEEK FAILURE
ปัญหานี้เกิดจากการที่ไม่ได้ต่อฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์เอาไว้ แต่ไปเซตใน CMOS Setup ให้มีการใช้ฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์ ทำให้ไบออสไปมองหาไดรฟ์ที่ไม่ได้ต่ออยู่จริง ดังนั้นถ้าหากคุณไม่ได้ต่อฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์ ก็ให้เข้าไปยกเลิกในไบออสด้วย
- DISK DRIVE RESET FAILED
เกิดจากคอนโทรลเลอร์ของดิสค์ไดรฟ์ไม่สามารถรีเซตการทำงานได้ ให้ลองปิดเครื่องแล้วเปิดใหม่ ถ้ายังไม่หาย ให้เปลี่ยนคอนโทรลเลอร์ใหม่ ซึ่งถ้าเป็นเมนบอร์ดรุ่นใหม่คอนโทรลเลอร์จะอยู่บนเมนบอร์ด ก็เท่ากับต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- DISK BOOT FAILURE
แสดงว่าแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่ใช้บูตไม่มีไฟล์ระบบอยู่จึงไม่สามารถบูตได้ ให้สร้างไฟล์ระบบสำหรับบูตกับแผ่น
- DISK READ FAILURE
ถ้าเกิดปัญหานี้ให้ดูก่อนว่าสายเคเบิลต่อถูกต้องหรือไม่ และสายเพาเวอร์ต่อเรียบร้อยหรือไม่ ลองเปลี่ยนแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ใหม่ ถ้ายังไม่หาย แสดงว่าฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์เสีย ให้เปลี่ยนใหม่
- DMA ERROR
ปัญหาเกิดจากชิพ DMA ไม่ทำงาน ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- DRIVE NOT READY
ปัญหานี้ถ้าเกิดกับฟลอปปี้ไดรฟ ก็ให้คุณตรวจสอบว่าสายเคเบิลไม่เสียหาย ดูว่าการต่อสายเคเบิลและสายเพาเวอร์เรียบร้อยดีหรือไม่ พินของฟลอปปี้ไดรฟ์ไม่หักงอ ถ้าสำรวจตามข้างต้นแล้วก็ยังไม่หาย ฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์อาจมีปัญหาที่ตัวเซนเซอร์ข้างใน ทำให้ฟลอปปี้ดิสค์ไม่สามารถรับรู้ว่ามีแผ่นอยู่แล้ว ถึงแม้จะใส่แผ่นเข้าไปแล้ว
- FDD CONTROLLER FAILURE
เป็นปัญหาที่คอนโทรลเลอร์ควบคุมฟลอปปี้ไดรฟ์ หรืออาจเป็นปัญหาที่ฟลอปปี้ไดรฟ์ ให้ตรวจสอบสายต่างๆว่าต่อเรียบร้อยหรือไม่ ถ้าเป็นเมนบอร์ดรุ่นเก่าที่ใช้การ์ด I/O ให้ดูว่าการ์ดเสียบกับสล้อตแน่นหรือไม่ ถ้ายังไม่หายให้เปลี่ยนการ์ด แต่ถ้า I/O อยู่บนเมนบอร์ด ก็ต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- FILE ALLOCATION TABLE BAD
FAT มีปัญหาให้ใช้โปรกแกรมซ่อมแซมดิสค์ตรวจสอบดู
- GATE A20 FAILURE
ไบออสไม่สามารถสวิตช์ให้ซีพียูทำงานที่ Protected Mode ได้ ซึ่งปัญหานี้อาจเกิดจากคีย์บอร์ดไม่ดีก็ได้ หรืออาจเกิดเนื่องจากสัญญาณที่ส่งออกมาจากชิพ 8042 ผิดพลาด ให้ลองเปลี่ยนคีย์บอร์ดใหม่ ถ้าเปลี่ยนแล้วยังไม่หาย แสดงว่าอาจเกิดปัญหาที่ชิพ ซึ่งก็ต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- GENERAL FAILURE READING DRIVE X:
ถ้าเจอข้อความนี้ครั้งแรก ให้กดแป้น I เพื่อเลือก Ignore แล้วทดสอบดิสค์ด้วยโปรแกรมตรวจสอบดิสค์ ถ้ายังขึ้นข้อความอีกให้เลือก Abort โดยกดแป้น A แล้วตรวจสอบสายที่ต่ออยู่ ถ้าหากเป็นฟลอปปี้ไดรฟ์ ให้ลองเปลี่ยนแผ่นใหม่
- HARD DISK FAILURE
ให้ดู C:DRIVE FAILURE สาเหตุและวิธีแก้ไขจะเหมือนกัน
- INSUFFICIENT MEMORY
แสดงว่าโปรแกรมที่คุณเรียกขึ้นมาต้องการใช้แรมมากกว่าที่มีติดตั้งอยู่ในเครื่อง ให้คุณดูว่ามีโปรแกรมอื่นเปิดอยู่หรือไม่ ถ้ามีให้ปิดลงไปให้หมด และมีโปรแกรมใดถูกเรียกที่ Start Up หรือไม่ ถ้ามีก็ให้ปิดโปรแกรมเหล่านั้นลงไป แล้วลองดูใหม่ ถ้ายังไม่ดีขึ้น ก็ต้องติดตั้งแรมเพิ่ม หรือใช้โปรแกรมจัดการหน่วยความจำ
- INTERNAL CACHE TEST FAILED
ถ้าพบอาการเช่นนี้ให้ลองบูตเครื่องใหม่ก่อน แต่ถ้ายังเป็นอยู่ แสดงว่าแคชในซีพียูไม่ทำงานแล้ว คุณต้องเปลี่ยนซีพียูใหม่
- INTR1 ERROR
Interrupt Controller มีความเสียหาย ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- KEYBOARD BAD
คีย์บอร์ดไม่ผ่านขั้นตอนของการ POST ให้ดูก่อนว่าคีย์บอร์ดต่ออยู่เรียบร้อยหรือไม่ ถ้ายังไม่หาย ให้เปลี่ยนคีย์บอร์ดใหม่
- KEYBOARD ERROR
ปัญหานี้อาจเกิดจากคีย์บอร์ดที่ใช้ไม่คอมแพตทิเบิลกับไบออส AMI ให้ลองเซตตรงส่วนของคีย์บอร์ดในCMOS Setup เป็น Not Installed แล้วบูตเครื่องใหม่
- MEMORY ADDRESS LINE FAILURE AT XXX:XXX,...
เกิดปัญหาที่เส้นแอดเดรสของหน่วยความจำบนเมนบอร์ด ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- MEMORY PARITY ERROR AT XXXX
แสดงว่าชิพที่อยู่บนแรมมีปัญหา ให้เปลี่ยนแรมใหม่
- NO BOOT DEVICE AVAILABLE
ถ้าไม่สามารถบูตทั้งฟลอปปี้ไดรฟ์และฮาร์ดดิสค์ ถ้าเป็นการบูตที่ฟลอปปี้ดิสไดรฟ์ ให้คุณดูก่อนว่าแผ่นที่ใส่เข้าไปมีไฟล์ระบบอยู่หรือไม่ และตรวจสอบว่าสายต่อดีหรือไม่ ถ้าไม่สามารถบูตที่ฮาร์ดดิสค์ได้ ให้ตรวจสอบว่าสายต่อีอยู่หรือไม่ ถ้ายังไม่ดีขึ้น ให้ใช้โปรแกรมตรวจสอบดิสค์ทำการทดลอง เป็นไปได้ว่าอาจเกิดความเสียหายที่ส่วนของการบูต หรือไม่ได้รับการ alignment
- NON-DOS DISK ERROR READING(WRITING) DRIVE X:
ข้อความนี้แสดงว่าคอมพิวเตอร์ไม่สามารถหาแทร็คสำหรับบูตบนแผ่นดิสค์พบ ให้ก๊อปปี้ไฟล์ระบบเข้าไปใหม่โดยใช้คำสั่ง Sys
- NO TIMER TICK INTERRUPT
ชิพ Timer ที่อยู่บนเมนบอร์ดไม่สามารถรับ Interrupt to ที่ Interrupt controller ส่งออกมา ต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- POINTER DEVICE FAILURE
มีปัญหาเกิดขึ้นกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการชี้ตำแหน่ง ให้ตรวจสอบว่าอุปกรณ์ดังกล่าวต่ออยู่กับพอร์ต PS/2 ดีหรือไม่ ถ้ายังไม่หายให้เปลี่ยนอุปกรณ์ในการชี้ตำแหน่งใหม่
- PROCESSING CANNOT CONTINUE
ข้อผิดพลาดนี้เกิดจากการเรียกใช้งานโปรแกรมบน DOS โดยมีหน่วยความจำไม่เพียงพอ ให้เพิ่มแรมให้มากขึ้น
- RAM BAD
มีการผิดพลาดที่ชิพของแรม หรือมีปัญหาที่เมนบอร์ด
- REAL TIME CLOCK FAILURE
ปัญหาเกิดจากแบตเตอรี่ไฟไม่พอจ่ายให้กับชิพ Real Time Clock บนเมนบอร์ด ทำให้เวลาเดินไม่ตรง ให้เข้าไปที่ CMOS Setup แล้วเซตเวลาใหม่ ถ้ายังไม่หาย ให้ลองเปลี่ยนแบตเตอรี่ ถ้ายังไม่หายให้เปลี่ยนเพาเวอร์ซัพพลาย
- XX=SCANCODE, CHECK KEYBOARD
ข้อความนี้แสดงว่าคอมพิวเตอร์ได้รับสัญญาณที่ส่งมาจากคีย์บอร์ด โดยอาจจะเกิดจากขั้วต่อของคีย์บอร์ดต่อไม่แน่น มีการหักงอของขาสัญญาณ หรืออาจเกิดจากมีคีย์ใดคีย์หนึ่งเกิดการค้าง ให้แก้ไขไม่ให้คีย์บอร์ดค้าง หรือถ้าไม่ดีขึ้นก็ให้เปลี่ยนคีย์บอร์ดใหม่
- TRACK 0 BAD - DISK UNUSABLE
ถ้าปัญหานี้เกิดขึ้นกับฟลอปปี้ดิสค์ ก็เป็นไปได้ว่าเกิดจากการฟอร์แมตแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่มีขนาดใหญ่ ในไดรฟ์ที่ความจุน้อย แต่ถ้าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสค์ คุณก็ต้องเปลี่ยนฮาร์ดดิสค์ใหม่
เสียงบี๊บโค๊ด
|
ความหมาย
|
เสียงบี๊บสั้นๆ 1 ครั้ง (Beep)
|
เครื่องทำงานปกติ
|
เสียงบี๊บยาวๆดังวนอยู่เรื่อยๆ (Beep...Beep...)
|
ติดตั้งแรมไม่แน่น หรือไม่ได้ติดตั้งแรม
|
เสียงบี๊บยาวๆ แล้วตามด้วยเสียงบี๊บสั้นๆ 3 ครั้ง (Beep...Beep Beep Beep Beep)
|
เครื่องหาการ์ดแสดงผลไม่เจอ หรือแรมบนการ์ดแสดงผลเสีย
|
ได้ยินเสียงบี๊บความถี่สูง เมื่อระบบกำลังทำงาน
|
ซีพียูร้อนเกินขีดจำกัด ทำให้ระบบต้องรับที่ความถี่ต่ำลงมา
|
รวบรวมปัญหาต่างๆที่พบได้บ่อยๆกับการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยได้พยายามรวบรวมปัญหาที่พบเห็นกันบ่อยๆ และนำมาสรุปให้เป็นแนวทางสำหรับการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น หวังว่าจะมีประโยชน์กับคนอื่นๆได้บ้าง
1. ปัญหาของ Windows
- หลังจาก Setup Windows ใหม่ แล้วเกิดการค้าง ไม่ยอมทำการ Setup ต่อไป
เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ แต่สิ่งหนึ่งที่พบบ่อยๆ คือการตั้งค่า Virus Warning ใน bios ไว้ ทำให้เครื่องไม่สามารถเขียนข้อมูลทับลงบนส่วนของ boot record ของฮาร์ดดิสก์ได้ ให้ลองแก้ใน bios ตั้งให้เป็นDisable ไว้ก่อน และหลังจากทำการ Setup Windows เสร็จแล้วค่อยตั้งเป็น Enable ใหม่
- หลังจาก Setup Windows จะขึ้นข้อความ Windows Protection Error
ที่พบบ่อยๆมากคือ ปัญหาของ RAM อาจจะเป็นเฉพาะช่วงที่ทำการ Setup Windows เท่านั้น (โดยที่ปกติก่อน Setup Windows จะใช้งานได้ ไม่เป็นอะไร) ให้ทดลองหา RAM มาเปลี่ยนใหม่ดู หรือหากเป็นSDRAM ให้ทดลองตั้งค่าใน bios ค่าของ CAS จากที่ตั้งเป็น 2 ลองตั้งเป็น 3 ดู อาจจะช่วยแก้ปัญหาได้บ้าง
2. ปัญหาของ ฮาร์ดแวร์
- RAM หายไปไหนเนี่ย ใส่เข้าไป 32 M. ทำไม Windows บอกว่ามี 28 M. เอง??
อาการของ RAM หายไปดื้อๆ จะเกิดกับการใช้เมนบอร์ดรุ่นที่มี VGA on board นะครับ ที่จริงก็ไม่ได้หายไปไหนหรอก เพียงแต่ส่วนหนึ่งของ RAM จะถูกนำไปใช้กับ VGA ครับ และขนาดที่จะโดนนำไปใช้ก็อาจจะเป็น 2M, 4M หรือ 8M ก็ได้ขึ้นอยู่กับการตั้งใน BIOS ครับ
- ใช้เครื่องได้สักพัก มักจะแฮงค์ พอปิดเครื่องสักครู่แล้วเปิดใหม่ ก็ใช้งานต่อได้อีกสักพักแล้วก็แฮงค์อีก
อาจจะเกิดจากความร้อนสูงเกินไป อย่างแรกให้ตรวจสอบพัดลมต่างๆว่าทำงานปกติดีหรือเปล่า หากเครื่องทำ Over Clock อยู่ด้วยก็ทดลองลดความเร็วลงมา ใช้แบบงานปกติดูก่อนว่ายังเป็นปัญหาอยู่อีกหรือเปล่า ถ้าใน bios มีระบบดูความร้อนของ CPU หรือ Main Board อยู่ด้วยให้สังเกตค่าของ อุณหภูมิ ว่าสูงเกินไปหรือเปล่า ทั้งนี้อาจจะทำการเพิ่มการติดตั้งหรือเปลี่ยนพัดลมของ CPU ช่วยด้วยก็ดี
- มีข้อความ BIOS ROM CHECK SUM ERROR ตอนเปิดเครื่อง
อาการนี้ส่วนใหญ่เกิดจากถ่านของ BIOS หมดหรือเกิดการหลวมครับ ให้ลองขยับถ่านให้แน่นๆดูก่อน ถ้าไม่หายก็ต้องลองเปลี่ยนถ่านบนเมนบอร์ดดู (ก่อนเปลี่ยนถ้ามี Meter วัดไฟดูก่อนก็ดี) หลังจากเปลี่ยนแล้วให้ทำการ Clear BIOS Jumper ก่อนด้วย จะเป็น Jumper ใกล้ๆกับ IC BIOS นั่นแหละ ทำการ Jump ค้างไว้สัก 5 วินาทีแล้วก็ Jump กลับที่เดิมก่อน หลังจากนั้นต้องเข้าไปตั้งค่าต่าง ๆ ของ BIOS ใหม่ด้วย
- ลืม Password ของ BIOS จะทำยังไงดี
ให้ทำการถอดถ่านของ BIOS ออกสักครู่ แล้วใส่กลับเข้าไปใหม่ ทำการ Clear Jumper BIOS ก่อนด้วย หรือลองดูวิธีการ Clear/Reset Password ของ BIOS
- ซื้อฮาร์ดดิสก์มาขนาดใหญ่ๆ แต่หลังจากทำการ Format แล้วเครื่องมองเห็นแค่ 2G
อย่างแรกให้ดูก่อนเลยว่า ใช้ระบบ FAT16 หรือ FAT32 ถ้าหากเป็น FAT16 จะมองเห็นได้สูงสุดแค่ 2Gต่อ 1 Partition เท่านั้น ต้องใช้แบบ FAT32 ครับ
วิธีการคือใช้ FDISK ของแผ่น Startup Disk WIN98 มาทำ FDISK (ถ้าเป็น FDISK จาก DOS หรือWIN95 จะเป็นแบบ FAT16)
- ไม่สามารถใช้งานฮาร์ดดิสก์ได้มากกว่า 8G. สำหรับเมนบอร์ดรุ่นเก่าๆ
เกิดจากที่ BIOS ไม่สามารถรู้จักกับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาดใหญ่ๆได้ จะเป็นกับเมนบอร์ดรุ่นเก่าๆ ที่เคยพบมาอีกแบบคือ Windows มองเห็นเกิน 8G แต่ไม่สามารถใช้งานได้ จะบอกว่าฮาร์ดดิสก์ของเราเต็ม
วิธีแก้ไขอย่างแรกคือ ให้ลองทำการ Update BIOS เป็น Version ใหม่ดูก่อน (ถ้าหาได้) หรือไม่ก็หาDownload โปรแกรมสำหรับจัดการพื้นที่ฮาร์ดดิสก์ จากเวปไซต์ของผู้ผลิตฮาร์ดดิสก์ยี่ห้อนั้นๆ หรืออาจจะใช้วิธีการแบ่ง Partition ให้มีขนาดใหญ่ไม่เกิน 8G ต่อ 1 Partition ก็อาจจะช่วยได้
3. ปัญหาของ ซอฟต์แวร์
- หลังจากลงโปรแกรมป้องกันไวรัส McAfee 4.0.3 แล้วไม่สามารถบูทเข้า Windows ได้
เท่าที่พบจะเกิดกับบางเครื่องเท่านั้น ปัญหาเกิดจากหลังจากที่เราติดตั้ง McAfee ลงไปแล้ว เครื่องจะทำการ Scan ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์โดยใส่เป็น Batch File ไว้ในไฟล์ autoexec.bat ซึ่งบางครั้งจะเป็นปัญหาทำให้ค้าง ไม่ยอมเข้า Windows ต่อไป
วิธีแก้ไขคือ ให้เปิดเครื่องเข้าใน MS-DOS Mode โดยกดปุ่ม F8 ค้างไว้ขณะเปิดเครื่อง จะเข้ามาที่เมนูMicrosoft Windows 98 Startup Menu
เลือกข้อ 6. sefe mode command prompt only แล้วใช้คำสั่ง "edit autoexec.bat" เพื่อแก้ไขไฟล์โดยให้ลบบรรทัดที่มีคำสั่ง scan.exe ออกครับ ทำการ save file แล้วทดลองบูทเครื่องใหม่อีกครั้ง
- พิมพ์หน้า Web Page ออกเครื่องพิมพ์แบบ Ink Jet เป็นภาษาไทยไม่ได้ จะมีแต่ภาษาอังกฤษ
ส่วนใหญ่ปัญหานี้จะเกิดกับการใช้เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ทรุ่นใหม่ๆ
วิธีแก้ไขคือ ให้ลองหา Download Driver รุ่นใหม่ๆของเครื่องพิมพ์จาก Web Site ของเครื่องพิมพ์นั้นๆ เพราะบางครั้งอาจจะมีการแก้ไขปัญหานี้แล้ว หรือไม่ก็ใช้วิธีเข้าไปตั้งค่า Regional Settings ที่ Control Panel เป็น English (USA) ก่อน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วก็เปลี่ยนกลับมาเป็น Thai เหมือนเดิม การตั้งค่าก็ทำโดยกดที่ Start เมนู >> Settings >> Control Panel เลือกที่ Regional Settings เปลี่ยนเป็น English (USA)
- สั่ง Defrag Hard Disk แล้วไม่ยอมเสร็จ จะกลับมาเริ่มต้นใหม่ วนแบบนี้อยู่เรื่อยๆ
สาเหตุเกิดจากมีโปรแกรมบางตัวทำงานอยู่ในเวลานั้นด้วย และสั่งเขียนข้อมูลลงบนฮาร์ดดิสก์ เช่นScreen Saver, Winamp หรือพวก Anti Virus บางตัว ให้ทำการปิดโปรแกรมเหล่านี้ให้หมดก่อน หรืออาจจะใช้วิธีเข้า Windows ใน Self Mode (กด F8 ตอนเปิดเครื่องแล้วเลือก Self Mode)
4. Eror massage
- 8042 GATE-A20 ERROR
เป็นปัญหาที่ชิพควบคุมการทำงานของคีย์บอร์ด ซึ่งเรียกว่า 8042 Keyboard Controller ให้คุณลองเปลี่ยนคีย์บอร์ดตัวใหม่ดูก่อน ถ้ายังไม่หาย แสดงว่าเป็นปัญหาที่ตัวชิพ 8042 บนเมนบอร์ด ถ้าเป็นอย่างนั้นคงต้องเปลี่ยนชิพ 8042 หรือเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- 8087 NMI XXXX.XXXX.TYPE(S)HUT OFF NMI,(R)EBOOT,OTHER KEYS TO CONTINUE
แสดงว่ามีปัญหาที่ Math Coprocessor ให้ลองใช้โปรแกรมทดสอบ Math Coprocessor ทดสอบดู ถ้าไม่ผ่านให้เปลี่ยน Math Coprocessor ซึ่งถ้าเป็นเมนบอร์ด 486 ก็คงสามารถทำได้ เพราะ Math Coprocessor จะแยกกับซีพียู แต่สำหรับเมนบอร์ดเพนเทียม Math Coprocessor จะรวมอยู่กับซีพียู
- ACCESS DENIED
ข้อความนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเขียนไฟล์ที่เป็น Read-Only หรือเขียนไฟล์ที่อยู่ในแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่Write-Protect แต่ถ้าเป็นไฟล์ที่ Read-Only เอาไว้ หากเป็นบน DOS ก็ให้ใช้คำสั่ง Attrib ของ DOS ในการยกเลิก Read-Only หากเป็นบน Windows 95 ก็ให้คลิกเม้าส์ขวาที่ไฟล์นั้น แล้วเลือก Properties คลิกเอาเครื่องหมายถูกออกจากช่อง Read-Only
- ALLOCATION ERROR,SIZE ADJUSTED
ข้อความผิดพลาดนี้เกิดจากการใช้คำสั่ง CHKDSK ซึ่งแสดงว่าขนาดของไฟล์ที่เป็นขนาดทางฟิสิคัล กับขนาดที่ได้กำหนดขึ้น (Allocate) ไม่ตรงกัน คุณควรจะแบ๊คอัพข้อมูลเก็บไว้ก่อนที่ความเสียหายจะเกิดขึ้น
- ATTEMPTED WRITE-PROTECT VIOLATION
ข้อความนี้จะเกิดจากการฟอร์แมตแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่ได้ Write-Protect เอาไว้ ถ้าคุณต้องการฟอร์แมตแผ่นจริงๆ ก็ให้ยกเลิก Write-Protect บนแผ่น
- BAD DMA PORT=XX
แสดงว่าชิพ DMA Controler บนเมนบอร์ดมีปัญหา คือไม่สามารถผ่านขั้นตอน Post ขณะเปิดเครื่องได้ วิธีแก้ไขคือให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่เลย
- BAD OR MISSING COMMAND INTERPRETER
แสดงว่าแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่ใช้บูต หรือฮาร์ดดิสค์ที่เป็นตัวบูตไม่มีไฟล์ Command.com อยู่ ให้คุณหาแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่มีไฟล์ระบบของ DOS อยู่มาบูตแทน ถ้าเป็นฮาร์ดดิสค์ที่ไม่มีไฟล์นี้อยู่ ก็ให้บูตจากแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ก่อน แล้วก๊อปปี้ไฟล์นี้เข้าไปไว้ในรูตของฮาร์ดดิสค์ที่ใช้บูต ข้อสำคัญคือ ระบบปฏิบัติการที่ใช้ฮาร์ดดิสค์ต้องเป็นตัวเดียวกัน และเวอร์ชั่นเดียวกันกับที่บูตจากแผ่นฟลอปปี้ดิสค์
- BAD PARTITION TABLE
ถ้าพบข้อความนี้ให้ลองแบ่งพาร์ติชั่นด้วยคำสั่ง FDISK ใหม่ ถ้ายังไม่หายอีก อาจจะเป็นไปได้ว่าเกิดจากไวรัสที่เข้าไปทำลายตารางพาร์ติชั่น ให้ใช้โปรแกรม Anti-Virus ลองสแกนฮาร์ดดิสค์ดู ถ้าไม่พบไวรัสก็คงต้องใช้เป็นวิธีสุดท้ายแล้วเท่านั้น เพราะการฟอร์แมตแบบนี้ไม่ค่อยดีเท่าใดนักสำหรับฮาร์ดดิสค์
- C:DRIVE ERROR
ปัญหานี้เกิดจากการเซต Type ใน CMOS Setup ไม่ตรงกับฮาร์ดดิสค์ที่ใช้อยู่ ไม่ได้เป็นเพราะฮาร์ดดิสค์เสียแต่อย่างใด ทำให้ CMOS ไม่สามารถกำหนดค่าของฮาร์ดดิสค์ไดรฟ์ C ได้ ให้คุณเข้าไปยัง CMOS Setup
- C:DRIVE FAILURE
ข้อความนี้แสดงว่าฮาร์ดดิสค์ไม่มีการทำงาน เป็นปัญหาที่ตัวฮาร์ดดิสค์โดยตรง ทำให้ไบออสไม่สามารถติดต่อกับฮาร์ดดิสค์ได้ อันดับแรกให้ลองตรวจสอบดูก่อนว่ามีเพาเวอร์เข้าไปยังฮาร์ดดิสค์หรือไม่ โดยดูว่าปลั๊กเพาเวอร์เสียบเข้ากับฮาร์ดดิสค์อย่างแน่นหนาหรือไม่ สายเคเบิลใช้งานได้หรือไม่ สายเคเบิลต่อกับฮาร์ดดิสค์ถูกต้องหรือไม่ ถ้าทำตามข้อต่างๆข้างต้นแล้วยังไม่ดีขึ้น ให้ลองฟอร์แมตแบบ Low Level ดู ถ้ายังไม่หายอีกคราวนี้ก็ต้องเปลี่ยนฮาร์ดดิสค์ใหม่
- CHCHE MEMORY BAD, DO NOT ENABLE CACHE
แคชบนเมนบอร์ดไม่ทำงาน ให้เปลี่ยนแคชใหม่
- CH-2 TIMER ERROR
ชิพ Timer บนเมนบอร์ดไม่ทำงาน ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- CMOS BATTERY STATE LOW
แสดงว่าแบตเตอรี่ที่ใช้แบ็คอัพ CMOS RAM มีกำลังไฟอ่อนลง ให้เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่
- CMOS CHECKSUM FAILURE
ตามปกติแล้วหลังจากที่มีการเซฟค่า CMOS RAM ที่ได้กำหนดไว้ ก็จะมีการสร้างค่า Checksum ขึ้นมา ซึ่งถ้าค่าเดิมกับค่าปัจจุบัน มีค่าแตกต่างกันก็จะมีการแจ้งข้อผิดพลาดข้างต้น วิธีแก้ไขคือให้เซตอัพไบออสใหม่ ถ้ายังไม่หายอีกก็แสดงว่าอาจเป็นปัญหาที่ชิพ CMOS ซึ่งอยู่บนเมนบอร์ด ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- CMOS DISPLAY TYPE MISMATCH
ค่าที่กำหนดชนิดของการ์ดแสดงผลในไบออสไม่ตรงกับชนิดของการ์ดแสดงผลที่ใช้อยู่ ซึ่งเป็นไปได้ว่าCMOS Setup กำหนดเป็น Mono แต่การ์ดแสดงผลที่ใช้อยู่เป็นแบบ VGA
- CMOS PORT DOES NOT EXIST
แสดงว่าพอร์ตอนุกรมมีปัญหา ให้ลองใช้โปรแกรมทดสอบว่าสามารถพบพอร์ดอนุกรมหรือไม่ ถ้าหาไม่พบ และไม่สามารถแก้ไขได้จริงๆ ให้ดูบนเมนบอร์ดว่ามีจัมเปอร์ที่ใช้สำหรับยกเลิกพอร์ตอนุกรมหรือไม่ ถ้ามี ให้จัมป์เพื่อยกเลิก แล้วในการ์ด I/O แทน
- DISK BAD
แสดงว่ามีปัญหาที่ฮาร์ดดิสค์ให้ตรวจอสอบว่าสายเคเบิลใช้ได้หรือไม่ และต่อเอาไว้เรียบร้อยหรือไม่ ให้ลองฟังเสียงและดูว่าแพล็ตเตอร์ของฮาร์ดดิสค์หมุนหรือไม่ ถ้าฮาร์ดดิสค์ไม่มีเสียงหมุน ให้ถอดปลั๊กเพาเวอร์ซัพพลายที่ต่อกับฮาร์ดดิสค์ออกแล้วเสียบเข้าไปใหม่ แต่ถ้ายังไม่ทำงานอีก โดยดูให้แน่ใจด้วยว่าเพาเวอร์ซัพพลายสามารถทำงานได้ปกติ ถ้าอาการไม่ดีขึ้นก็คงต้องส่งซ่อม
- DISK CONFIGURATION ERROR
สาเหตุจากการนำเอาฮาร์ดดิสค์รุ่นใหม่ๆมาใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่นเก่า โดยไบออสไม่สามารถรู้จักฮาร์ดดิสค์ที่ต่อได้ แต่ปัญหานี้สามารถแก้ไขได้โดยอัพเกรดไบออสให้เป็นเวอร์ชั่นใหม่
- DISK DRIVE 0 SEEK FAILURE
ปัญหานี้เกิดจากการที่ไม่ได้ต่อฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์เอาไว้ แต่ไปเซตใน CMOS Setup ให้มีการใช้ฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์ ทำให้ไบออสไปมองหาไดรฟ์ที่ไม่ได้ต่ออยู่จริง ดังนั้นถ้าหากคุณไม่ได้ต่อฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์ ก็ให้เข้าไปยกเลิกในไบออสด้วย
- DISK DRIVE RESET FAILED
เกิดจากคอนโทรลเลอร์ของดิสค์ไดรฟ์ไม่สามารถรีเซตการทำงานได้ ให้ลองปิดเครื่องแล้วเปิดใหม่ ถ้ายังไม่หาย ให้เปลี่ยนคอนโทรลเลอร์ใหม่ ซึ่งถ้าเป็นเมนบอร์ดรุ่นใหม่คอนโทรลเลอร์จะอยู่บนเมนบอร์ด ก็เท่ากับต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- DISK BOOT FAILURE
แสดงว่าแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่ใช้บูตไม่มีไฟล์ระบบอยู่จึงไม่สามารถบูตได้ ให้สร้างไฟล์ระบบสำหรับบูตกับแผ่น
- DISK READ FAILURE
ถ้าเกิดปัญหานี้ให้ดูก่อนว่าสายเคเบิลต่อถูกต้องหรือไม่ และสายเพาเวอร์ต่อเรียบร้อยหรือไม่ ลองเปลี่ยนแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ใหม่ ถ้ายังไม่หาย แสดงว่าฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์เสีย ให้เปลี่ยนใหม่
- DMA ERROR
ปัญหาเกิดจากชิพ DMA ไม่ทำงาน ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- DRIVE NOT READY
ปัญหานี้ถ้าเกิดกับฟลอปปี้ไดรฟ ก็ให้คุณตรวจสอบว่าสายเคเบิลไม่เสียหาย ดูว่าการต่อสายเคเบิลและสายเพาเวอร์เรียบร้อยดีหรือไม่ พินของฟลอปปี้ไดรฟ์ไม่หักงอ ถ้าสำรวจตามข้างต้นแล้วก็ยังไม่หาย ฟลอปปี้ดิสค์ไดรฟ์อาจมีปัญหาที่ตัวเซนเซอร์ข้างใน ทำให้ฟลอปปี้ดิสค์ไม่สามารถรับรู้ว่ามีแผ่นอยู่แล้ว ถึงแม้จะใส่แผ่นเข้าไปแล้ว
- FDD CONTROLLER FAILURE
เป็นปัญหาที่คอนโทรลเลอร์ควบคุมฟลอปปี้ไดรฟ์ หรืออาจเป็นปัญหาที่ฟลอปปี้ไดรฟ์ ให้ตรวจสอบสายต่างๆว่าต่อเรียบร้อยหรือไม่ ถ้าเป็นเมนบอร์ดรุ่นเก่าที่ใช้การ์ด I/O ให้ดูว่าการ์ดเสียบกับสล้อตแน่นหรือไม่ ถ้ายังไม่หายให้เปลี่ยนการ์ด แต่ถ้า I/O อยู่บนเมนบอร์ด ก็ต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- FILE ALLOCATION TABLE BAD
FAT มีปัญหาให้ใช้โปรกแกรมซ่อมแซมดิสค์ตรวจสอบดู
- GATE A20 FAILURE
ไบออสไม่สามารถสวิตช์ให้ซีพียูทำงานที่ Protected Mode ได้ ซึ่งปัญหานี้อาจเกิดจากคีย์บอร์ดไม่ดีก็ได้ หรืออาจเกิดเนื่องจากสัญญาณที่ส่งออกมาจากชิพ 8042 ผิดพลาด ให้ลองเปลี่ยนคีย์บอร์ดใหม่ ถ้าเปลี่ยนแล้วยังไม่หาย แสดงว่าอาจเกิดปัญหาที่ชิพ ซึ่งก็ต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- GENERAL FAILURE READING DRIVE X:
ถ้าเจอข้อความนี้ครั้งแรก ให้กดแป้น I เพื่อเลือก Ignore แล้วทดสอบดิสค์ด้วยโปรแกรมตรวจสอบดิสค์ ถ้ายังขึ้นข้อความอีกให้เลือก Abort โดยกดแป้น A แล้วตรวจสอบสายที่ต่ออยู่ ถ้าหากเป็นฟลอปปี้ไดรฟ์ ให้ลองเปลี่ยนแผ่นใหม่
- HARD DISK FAILURE
ให้ดู C:DRIVE FAILURE สาเหตุและวิธีแก้ไขจะเหมือนกัน
- INSUFFICIENT MEMORY
แสดงว่าโปรแกรมที่คุณเรียกขึ้นมาต้องการใช้แรมมากกว่าที่มีติดตั้งอยู่ในเครื่อง ให้คุณดูว่ามีโปรแกรมอื่นเปิดอยู่หรือไม่ ถ้ามีให้ปิดลงไปให้หมด และมีโปรแกรมใดถูกเรียกที่ Start Up หรือไม่ ถ้ามีก็ให้ปิดโปรแกรมเหล่านั้นลงไป แล้วลองดูใหม่ ถ้ายังไม่ดีขึ้น ก็ต้องติดตั้งแรมเพิ่ม หรือใช้โปรแกรมจัดการหน่วยความจำ
- INTERNAL CACHE TEST FAILED
ถ้าพบอาการเช่นนี้ให้ลองบูตเครื่องใหม่ก่อน แต่ถ้ายังเป็นอยู่ แสดงว่าแคชในซีพียูไม่ทำงานแล้ว คุณต้องเปลี่ยนซีพียูใหม่
- INTR1 ERROR
Interrupt Controller มีความเสียหาย ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- KEYBOARD BAD
คีย์บอร์ดไม่ผ่านขั้นตอนของการ POST ให้ดูก่อนว่าคีย์บอร์ดต่ออยู่เรียบร้อยหรือไม่ ถ้ายังไม่หาย ให้เปลี่ยนคีย์บอร์ดใหม่
- KEYBOARD ERROR
ปัญหานี้อาจเกิดจากคีย์บอร์ดที่ใช้ไม่คอมแพตทิเบิลกับไบออส AMI ให้ลองเซตตรงส่วนของคีย์บอร์ดในCMOS Setup เป็น Not Installed แล้วบูตเครื่องใหม่
- MEMORY ADDRESS LINE FAILURE AT XXX:XXX,...
เกิดปัญหาที่เส้นแอดเดรสของหน่วยความจำบนเมนบอร์ด ให้เปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- MEMORY PARITY ERROR AT XXXX
แสดงว่าชิพที่อยู่บนแรมมีปัญหา ให้เปลี่ยนแรมใหม่
- NO BOOT DEVICE AVAILABLE
ถ้าไม่สามารถบูตทั้งฟลอปปี้ไดรฟ์และฮาร์ดดิสค์ ถ้าเป็นการบูตที่ฟลอปปี้ดิสไดรฟ์ ให้คุณดูก่อนว่าแผ่นที่ใส่เข้าไปมีไฟล์ระบบอยู่หรือไม่ และตรวจสอบว่าสายต่อดีหรือไม่ ถ้าไม่สามารถบูตที่ฮาร์ดดิสค์ได้ ให้ตรวจสอบว่าสายต่อีอยู่หรือไม่ ถ้ายังไม่ดีขึ้น ให้ใช้โปรแกรมตรวจสอบดิสค์ทำการทดลอง เป็นไปได้ว่าอาจเกิดความเสียหายที่ส่วนของการบูต หรือไม่ได้รับการ alignment
- NON-DOS DISK ERROR READING(WRITING) DRIVE X:
ข้อความนี้แสดงว่าคอมพิวเตอร์ไม่สามารถหาแทร็คสำหรับบูตบนแผ่นดิสค์พบ ให้ก๊อปปี้ไฟล์ระบบเข้าไปใหม่โดยใช้คำสั่ง Sys
- NO TIMER TICK INTERRUPT
ชิพ Timer ที่อยู่บนเมนบอร์ดไม่สามารถรับ Interrupt to ที่ Interrupt controller ส่งออกมา ต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่
- POINTER DEVICE FAILURE
มีปัญหาเกิดขึ้นกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการชี้ตำแหน่ง ให้ตรวจสอบว่าอุปกรณ์ดังกล่าวต่ออยู่กับพอร์ต PS/2 ดีหรือไม่ ถ้ายังไม่หายให้เปลี่ยนอุปกรณ์ในการชี้ตำแหน่งใหม่
- PROCESSING CANNOT CONTINUE
ข้อผิดพลาดนี้เกิดจากการเรียกใช้งานโปรแกรมบน DOS โดยมีหน่วยความจำไม่เพียงพอ ให้เพิ่มแรมให้มากขึ้น
- RAM BAD
มีการผิดพลาดที่ชิพของแรม หรือมีปัญหาที่เมนบอร์ด
- REAL TIME CLOCK FAILURE
ปัญหาเกิดจากแบตเตอรี่ไฟไม่พอจ่ายให้กับชิพ Real Time Clock บนเมนบอร์ด ทำให้เวลาเดินไม่ตรง ให้เข้าไปที่ CMOS Setup แล้วเซตเวลาใหม่ ถ้ายังไม่หาย ให้ลองเปลี่ยนแบตเตอรี่ ถ้ายังไม่หายให้เปลี่ยนเพาเวอร์ซัพพลาย
- XX=SCANCODE, CHECK KEYBOARD
ข้อความนี้แสดงว่าคอมพิวเตอร์ได้รับสัญญาณที่ส่งมาจากคีย์บอร์ด โดยอาจจะเกิดจากขั้วต่อของคีย์บอร์ดต่อไม่แน่น มีการหักงอของขาสัญญาณ หรืออาจเกิดจากมีคีย์ใดคีย์หนึ่งเกิดการค้าง ให้แก้ไขไม่ให้คีย์บอร์ดค้าง หรือถ้าไม่ดีขึ้นก็ให้เปลี่ยนคีย์บอร์ดใหม่
- TRACK 0 BAD - DISK UNUSABLE
ถ้าปัญหานี้เกิดขึ้นกับฟลอปปี้ดิสค์ ก็เป็นไปได้ว่าเกิดจากการฟอร์แมตแผ่นฟลอปปี้ดิสค์ที่มีขนาดใหญ่ ในไดรฟ์ที่ความจุน้อย แต่ถ้าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสค์ คุณก็ต้องเปลี่ยนฮาร์ดดิสค์ใหม่
การ POST เป็นกระบวนการตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ว่าปกติดีหรือไม่ ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเปิดเครื่องครั้งแรก ดังนั้นเราจะต้องทำความรู้จักกันก่อนว่ากระบวนการนี้มีขั้นตอนอย่างไร ดังนี้
หน้าจอแรก ข้อมูลของการ์ดแสดงผล
หน้าจอที่สอง กระบวนการตรวจสอบเครื่อง
หน้าจอที่สามรายการฮาร์ดแวร์ที่ตรวจพบ
หลังจากนั้นเครื่องก็บู๊ตเข้าสู่ระบบปฏิบัติการต่อไป ซึ่งถ้าเป็นเครื่องใหม่ที่ยังไม่ได้ลงระบบปฏิบัติการใดๆเลย เครื่องก็จะไม่ทำงานต่อและจะแจ้งข้อความดังนี้
DISK BOOT FAILURE, INSERT DISK SYSTEM PRESS ENTER
จากประสบการ์ของผม ข้อความที่ปรากฏหน้าจอดังกล่าว เกิดขึ้นได้จากสาเหตหลายสาเหตุ เช่น ยังไม่ต่อสายฮาร์ทดิสก์,ตายสายไม่ครบ,สายสัญญานอาจหลวมหรือไม่เข้าที่ และอีกสาเหตุที่เป็นไปได้คือฮาร์ทดิสก์เสียก็ได้
ดังนั้นให้คุณหาแผ่นบู๊ตหรือแผ่นซีดีรอมที่สามารถบู๊ตได้มาใส่ลงในไดรว์ (อย่าลืมกำหนดให้ BIOS บู๊ตจากไกรว์ Aและไดรว์ CD-ROM เสียก่อน) เพื่อให้เครื่องบู๊ตจากแผ่นดิสก์หรือซีดีได้ จากนั้นก็ติดตั้งระบบปฏิบัติการที่ต้องการลงไปบนฮาร์ดดิสก์
เมื่อเปิดเครื่องขึ้นมาครั้งแรกหลังจากที่ประกอบเครื่องเสร็จ ถ้าคุณได้ยินเสียงบี๊บมากกว่า 1 ครั้งให้คุณนับจำนวนและจังหวะของเสียงเอาไว้ แล้วรีบปิดเครื่องโดยทันที เพราะเสียงดังกล่าวคือเสียงที่เราเรียกว่า Beep Code เอาไว้เตือนเมื่อฮาร์ดแวร์ภายในเครื่องมีปัญหาเกิดขึ้น สิ่งที่ต้องทำต่อไปก็คือ เปิดคู่มือเมนบอร์ดดูว่าสัญญาณลักษณะนี้เกิดจากอะไร
BIOS Setpu Beep Code
ถ้าทุกอย่างปกติ คือมีเสียงบี๊บ 1 ครั้งแต่ไฟ Power และไฟฮาร์ดดิสก์ไม่ติด ก็แสดงว่าต่อสายสัญญาณ LED สลับขั้วหรือเสียบผิดตำแหน่ง ก็เลยทำให้ไฟ LED ไม่ติด หรือไม่คุณก็อาจลืมเสียบสายสัญญาณก็ได้ ให้เปิดคู่มือเมนบอร์ดในหน้าที่แสดงดำแหน่งของการต่อสายสัญญาณต่างๆเพื่อเช็คดูว่าสายที่ต่ออยู่ผิดหรือไม่ หรืออาจจะลองสลับข้างสาย LED ดูเลยก็ได้เนื่องจากถ้าต่อสายผิดขั้วไฟหลอด LED จะไม่ติด
คันหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.skn.ac.th/skl/project/49/com/menu.htm
หน่วยที่ 3 การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
สาระสำคัญ
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ไม่ใช่เรื่องยากลำบากแต่อย่างใดเพียงแต่มีความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และมีความละเอียดรอบคอบในการทำงานก็สามารถประกอบเครื่องได้ เพราะปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มีความเป็นมาตรฐาน และสะดวกต่อการใช้งานมากขึ้นกว่าเดิม
เรื่องที่จะศึกษา
- การเลือกอุปกรณ์ในการประกอบเครื่อง
- ข้อแนะนำในการเลือกซื้ออุปกรณ์จากร้านค้า
- ขั้นตอนการประกอบเครื่อง
- การอ่านคุณลักษณะของเครื่อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
- สามารถเลือกอุปกรณ์ในการประกอบเครื่องได้เหมาะสมกับลักษณะงานที่ใช้
- บอกข้อแนะนำในการเลือกซื้ออุปกรณ์จากร้านค้าได้
- ฝึกปฏิบัติ การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
- สามารถอ่านคุณลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ จากเอกสารประชาสัมพันธ์สินค้า
- ฝึกความรอบคอบในการทำงานและการทำงานเป็นกลุ่ม
การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ
CPU : ควรเลือกใช้ตามประเภทของงาน เช่น งานเอกสารทั่วไป เล่นเกม หรืองานทางด้านมัลติมีเดีย ซึ่งแต่ละงานจะต้องการความเร็ว ความละเอียดในการแสดงผลแตกต่างกัน เช่น
Intel Pentium : รุ่น Celeron ความเร็ว 400-500 MHz
AMD : รุ่น K6-III ความเร็ว 400 MHz ขึ้นไป
Cyrix : รุ่น M II+ 450 MHz หรือ M III
Mainboard : เพื่อรองรับ CPU ที่เราได้เลือกมาแล้ว ควรเลือกแบบ ATX เพราะทำงานได้รวดเร็ว มีพื้นที่ในการจัดวางอุปกรณ์ได้เหมาะสม ระบายความร้อนได้ดี มีหลายยี่ห้อ เช่น Abit, Aopen, Intel
RAM : ควรเลือกขนาดความจุอย่างน้อย 64 MB ความเร็ว 100 MHz ขึ้นไป และเลือกยี่ห้อที่เชื่อถือได้ เช่น ฮิตาชิ ฮุนได แอลจี เอ็นอีซี เป็นต้น
Hard Disk : ควรเลือกแบบ UltraDMA/66 มีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูล 66 MB/s ความจุ 4.3 GB และการรับประกัน 3 ปี
VGA Card : การ์ดแสดงผลส่วนใหญ่จะใช้ 3D Card เพราะประมวลผลภาพ 3 มิติได้ ขนาดหน่วยความจำมีตั้งแต่ 32 , 64, 128 และ 256 MB ยี่ห้อที่นิยมใช้ เช่น Addonics, SIS6326, Colormax S3 Savage4 Millennium G400, WinFast S320V เป็นต้น
Sound Card : ปัจจุบันมีซาวด์การ์ดแบบออนบอร์ดติดตั้งให้เรียบร้อยแล้ว
Drive : ความเร็วมาตรฐาน 45-50 X หน่วยความจำ 128-256 KB ยี่ห้อที่นิยมใช้ เช่น AOpen, Asus, CTX, LG, Philips, Pioneer,
Sony
ป็นต้น
Monitor : ควรเลือกจอ CRT เพราะสามารถปรับความละเอียดสูงสุดเพื่อความสบายตาได้มากกว่าจอ LCD และมีขนาดจอให้เลือกมากกว่า
Case : ควรเลือกซื้อ Case ที่มีขนาดพื้นที่ติดตั้งอุปกรณ์กว้าง ๆ มีพัดลมระบายความร้อนมาก ๆ
Power Supply : ควรมีกำลังจ่ายไฟ 350-450 วัตต์ จะทำให้การพ่วงต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
Modem : ปัจจุบันใช้การเชื่อมต่อแบบอะนาล็อก 56 K หรือแบบความเร็วสูง ADSL มีทั้งติดตั้งภายในและภายนอก
Mouse : ควรเลือกเมาส์ที่มีล้อสำหรับเลื่อนหน้าจอ (Wheel Mouse) เป็นแบบไร้สาย หรือมีความรวดเร็วในการเลือกใช้งานโปรแกรมต่าง ๆ
Keyboard : ควรเลือกซื้อตามความต้องการของผู้ใช้เป็นหลัก หากต้องการคุณภาพและมีปุ่มฟังก์ชันการทำงานมาก ๆ จะมีราคาสูง
Speaker : ควรเลือกลำโพงให้สอดคล้องกับการ์ดเสียง จะได้เสียงที่มีคุณภาพ ขนาด 120 วัตต์ขึ้นไปเพื่อให้สะดวกในการให้ความบันเทิงทางด้านมัลติมีเดียหรือต่อพ่วงกับอุปกรณ์อื่น ๆ ได้เต็มรูปแบบ
การเลือกซื้อ Printer :
- ถ้าใช้งานทั่วไปควรเลือกประเภท Inkjet ความละเอียดไม่ต่ำกว่า 1200 x1200 จุดต่อตารางนิ้ว สามารถพิมพ์เอกสาร รูปภาพขาวดำ และภาพสีได้ ต้องดูว่าเครื่องพิมพ์ Inkjet รุ่นนี้ใช้ตลับน้ำหมึกรุ่นไหน ตลับสีกับขาวดำราคาเท่าไหร่ เพื่อเปรียบเทียบราคาให้คุ้มค่ากับการใช้งาน
- ถ้าต้องการปริมาณงานพิมพ์มาก ๆ ต้องใช้เครื่องประเภท Lazer มีราคาสูง แต่สะดวกรวดเร็ว
การเลือกซื้อ Scanner :
ควรเลือกหัวสแกนแบบ CCD ความละเอียด 1200 x1200 จุดต่อตารางนิ้วขึ้นไป สแกนเนอร์บางรุ่นสามารถสแกนแผ่นฟิล์ม แผ่นสไลด์ได้ แต่มีราคาแพงพอสมควร
การเลือกซื้อ Operating System :
ในปัจจุบันนิยมใช้ระบบปฏิบัติการ Windows XP, 2000
|
2. ข้อแนะนำในการเลือกซื้ออุปกรณ์จากหน้าร้าน
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้พัฒนาเทคโนโลยีให้สามารถประมวลผลได้เร็วขึ้น แต่ราคาถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งานทำได้ง่าย มีให้เลือกหลากหลายรุ่นตามร้านค้าทั่วไป แต่ผู้ใช้งานควรพิจารณาว่าจะนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อทำงานด้านใด เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์มีทั้งแบบที่ใช้ได้กับงานทุกประเภทหรืองานเฉพาะด้าน แม้ว่าราคาเครื่องอุปกรณ์ต่างๆจะถูกลง แต่ผู้ใช้ควรเลือกคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับการใช้งานเพื่อให้คุ้มค่ากับจำนวนเงิน ตัวอย่างของการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงานแต่ละประเภท เช่น
งานเอกสาร หรืองานในสำนักงาน เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับจัดการด้านเอกสารรายงาน ตกแต่งภาพ ทำการ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์หรือสื่อทางการศึกษา ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น ซอฟแวร์ประมวลคำ และซอฟแวร์ตารางทำงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานประเภทนี้ไม่จำเป็นต้องใช้ซีพียูที่มีความเร็วสูง คือประมาณ 1 GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้อย 1 GB และอาจเลือกใช้จอภาพแบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17 – 19 นิ้ว เพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้องจ้องมองจอภาพตลอดเวลา
งานกราฟิก เป็นใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการเรียกใช้งานโปรแกรมหราฟิกหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ซอฟแวร์กราฟิกในการสร้างชิ้นงาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนำเสนอแบบมัลติมีเดีย สร้างเว็บไซต์ ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีการรับ-ส่งข้อมูลจำนวนมากที่มีทั้งภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้จำเป็นต้องมีซีพียูที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างสูง ประมาณ 2 GHz ขึ้นไปใช้แรมอย่างน้อย 2 GB ขึ้นไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก
งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ เป็นการออกแบบภาพ 3 มิติ สร้างภาพยนตร์ สร้างการ์ตูน แอนิเมชัน (animation) ตัดต่อวีดีทัศน์ ตัดต่อเพลง เล่นเกมที่มีกราฟิกสูง งานประเภทนี้ต้องการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคำนวณและแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ ดังนั้น ควรเลือกซีพียูที่มีความเร็วไม่น้อยกว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดแสดงผลที่สามารถแสดงภาพที่มีความละเอียดสูงได้ดีควรใช้จอภาพขนาดไม่ต่ำกว่า 24 นิ้ว และควรมีเครื่องสำรองไฟเนื่องจากการทำงานประเภทนี้คอมพิวเตอร์ต้องใช้เวลาในการประมวลผลนานถ้าหากไฟดับหรือไฟกระตุกจะไม่สะดวกในการเริ่มทำงานใหม่
3. ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
1. ขั้นแรกให้เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
เช่น ไขควงสี่แฉก กล่องสำหรับใส่น็อต คู่มือเมนบอร์ด คีมปากจิ้งจก
2. เริ่มจากการติดตั้งซีพียูก่อน โดยง้างขาล็อคของซ็อกเก็ตขึ้นมาจากนั้น
นำซีพียูมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ตโดยให้วางตำแหน่งขาที่ 1 ของซีพียูและซ็อกเก็ตให้ตรง
กัน โดยสังเกตว่าที่ขาที่ 1 ของซีพียูจะทำเครื่องหมายเป็นจุดเล็กไว้ที่มุมด้านบนของ
ซีพียู
3. เมื่อวางซีพียูตรงล็อคกับซ็อกเก็ตแล้ว จากนั้นให้กดขาล็อกลงไปเหมือน
เดิม แล้วนำซิลิโคนมาทาตรงบริเวณคอร์ (แกน) ของซีพียู และไม่ควรทาซิลิโคนให้
หนา หากเห็นว่าหนาเกินไปให้ใช้กระดาษหรือแผ่นพลาสติกมาปาดออกเสียบ้าง
4. ติดตั้งฮีทซิงค์และพัดลมลงไปบนคอร์ของซีพียู ติดล็อกให้เรียบร้อย
ในขั้นตอนนี้มีจุดที่ต้องระวังอยู่ 2 จุดคือ การติดตั้งฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบ
สนิทกับคอร์ของซีพียู อย่าพยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของซีพียูอาจบิ่นได้ ส่วนขา
สปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริง
ให้เข้าล็อก ซึ่งอาจทำให้พลาดไปขูดเอาลายปริ้นบนเมนบอร์ดขาดทำให้เมนบอร์ด
อาจเสียหายได้
5. เสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขั้ว CPU FAN โดยดูจากคู่มือเมนบอร์ด
6. นำแรมมาเสียบเข้ากับซ็อกเก็ตแรมโดยให้ตรงกับร่องของซ็อกเก็ต จากนั้น
จึงกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้าน
อาจไม่จำเป็นต้องดีดขึ้นมาก็ได้ให้ดูว่าเข้าล็อกกันก็พอ)
7. ขันแท่นรองน็อตเข้ากับเคส
8. นำเมนบอร์ดที่ได้ติดตั้งซีพียูและแรมวางลงไปบนเคส จากนั้นขันน็อตยึด
เมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสให้ครบทุกตัว
9. เสียบการ์ดแสดงผลลงไปในสล็อต AGP เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส
10. เสียบการ์ดเสียงลงไปในสล็อต PCI เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส
11. เสียบสายเพาเวอร์ซัพพลายเข้ากับขั้วต่อบนเมนบอร์ด โดยควรเสียบให้
ปลั๊กของสายเพาเวอร์ซัพพลายตรงล็อกกับขั้วต่อบนเมนบอร์ด
12. สอดไดรฟ์ซีดีรอมเข้ากับช่องว่างหน้าเคส แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส
ให้แน่น
13. เสียบสาย IDE เข้ากับไดรฟ์ซีดีรอมโดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1
หรือด้านที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟและสายสัญญาณเสียงเข้าไปด้วย
14. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Secondary IDE บนเมนบอร์ด
โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย
15. สอดฮาร์ดดิสก์เข้ากับช่องติดตั้ง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคสให้แน่น
16. เสียบสาย IDE เข้ากับฮาร์ดดิสก์โดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือด้าน
ที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟเข้าไปด้วย
17. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Primary IDE บนเมนบอร์ด โดยแถบ
สีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย
20. เสียบสายแพขนาด 34 เส้น (เส้นเล็กกว่าสายแพของฮาร์ดดิสก์
และซีดีรอม) ให้ด้านที่มีการไขว้สายเข้ากับขั้วต่อไดรฟ์ฟล็อบปี้ดิสก์ โดยแถบสีแดง
ของสายแพต้องตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย หากใส่ผิดด้านไฟของไดรฟ์
ฟล็อบปี้ดิสก์จะติดตลอด วิธีแก้ไขคือให้หันสายแพกลับด้านเพราะไดรฟ์ฟล็อบปี้ดิสก์
บางยี่ห้ออาจต้องใส่สลับด้านกัน
21. เสียบสายแพอีกด้านเข้ากับขั้วต่อฟล็อบปี้ดิสก์บนเมนบอร์ด โดยให้สาย
สีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือ pin1 ของขั้วต่อด้วย
22. เสียบสายสัญญาณต่างๆ จากเคส เช่น สวิตช์เปิดปิดเครื่อง ไฟบอก
สถานะเปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะฮาร์ดดิสก ปุ่ม Reset ลำโพง ลงบนเมนบอร์ด
ควรดูคู่มือเมนบอร์ดประกอบด้วย โดยต้องเสียบขั้วให้ถูกหากผิดขั้ว คอมพิวเตอร์
จะไม่ติดหรือมีไฟค้างตลอดเวลา วิธีแก้ไขคือให้เราลองสลับขั้วและเปิดเครื่องขึ้น
มาใหม่
23. เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เราลองสำรวจดูว่ามีน็อตหรืออุปกรณ์อื่นๆ
ตกค้างอยู่บนเมนบอร์ดหรือไม่ เพราะอาจทำให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกิดความ
เสียหายต่อเมนบอร์ดและอุปกรณ์ต่างๆ บนเมนบอร์ดได้ นอกจากนี้ควรตรวจสอบ
การติดตั้งทั้งหมดว่าเรียบร้อยดีแล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบ
แน่นหนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัดลมต้องแนบสนิทกับซีพียู พร้อมทั้งล็อก
ติดกันอย่างแน่นหนา
24. เมื่อเรียบร้อยดีแล้วปิดฝาเคสและขันน็อตให้เรียบร้อย ก็เป็นอันเสร็จสิ้น
ขั้นตอนการประกอบเครื่องอย่างถูกต้องและสมบูรณ์แบบแล้ว
4. การอ่านคุณลักษณะของเครื่อง
อันดับแรกเลยนะครับ ให้เราทำการโหลดโปรแกรม Cpu-z มาก่อนครับผม
ดาวโหลดได้ที่นี่ครับ : http://www.cpuid.com/download/cpuz/cpuz_151_setup.exe
จากนั้นให้ ติดตั้งเลยนะครับ วิธีติดตั้งก็ไม่มีไรครับ Next Next Next เหมือนโปรแกรมทั่วไปครับ
จากนั้นให้เข้าโปรแกรม Cpu-z โดยเข้าที่ Start>All Programs>CPUID>CPU-Z>Cpu-Z
จะเห็นหน้าตาโปรแกรม แบบนี้
อธิบายจากภาพนะครับ ขออธิบายแต่ในส่วนหลักๆ นะครับ
ส่วนของ CPU
ในส่วนของ Processer Name: ชื่อรุ่นของ CPU ที่เราใช้อยู่ Package: Socket ของ Cpu ที่เราใช้อยู่ Technology: เทคโนโลยีที่ใช้ผลิตรุ่นของ Cpu นั้นเอง
ในส่วนของ Clocks (core #0)
Core Speed : คือความเร็วสัญญาณนาฟิกาของ Cpu ที่เราใช้อยู่
ในส่วนของ Selection
Core : จากภาพ คือ 2 คือ Cpu เรามี 2 คอ
ต่อไปมาดู Mainboard กัน ว่าเราเป็นรุ่นอะไร
ให้เข้าที่เมนู Mainboard นะครับ จะได้แบบภาพ
จากภาพนะครับในส่วน
Manufacturer : คือค่ายที่ผลิตเมนบอร์ดของเรานั้นเอง Model : คือรุ่นของบอร์ดที่เราใช้อยู่ รุ่นอะไร เอาไว้เวลาไปโหลดไดร์เวอร์ก็ดูซะ ^^"
ต่อไปเรามาดูในส่วนของ RAM กันนะครับ ให้กดที่ Memory จะได้ดังภาพครับผม
Type : คือชนิดของแรมเรา อย่างภาพข้างต้นคือ DDR2 Size : คือขนาดของแรมที่เรามีอยู่ปัจจุบัน Dram Frequency : คือความเร็วที่วิ่งอยู่ปัจจุบัน
วิธีหาค่า Bus นำค่า Dram Frequency มา x2 ก็จะเป็นค่า Bus ของเครื่องเรา เช่นจากภาพเป็น 332.4 ให้ปัดขึ้นไปเลย ครับ จะเป็น 333 แล้วนำมา x2 จะเป็น 333x2 = 666 แล้วนำมา + 1 Bus ของเราจะ = Bus 667
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้พัฒนาเทคโนโลยีให้สามารถประมวลผลได้เร็วขึ้น แต่ราคาถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งานทำได้ง่าย มีให้เลือกหลากหลายรุ่นตามร้านค้าทั่วไป แต่ผู้ใช้งานควรพิจารณาว่าจะนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อทำงานด้านใด เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์มีทั้งแบบที่ใช้ได้กับงานทุกประเภทหรืองานเฉพาะด้าน แม้ว่าราคาเครื่องอุปกรณ์ต่างๆจะถูกลง แต่ผู้ใช้ควรเลือกคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับการใช้งานเพื่อให้คุ้มค่ากับจำนวนเงิน ตัวอย่างของการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงานแต่ละประเภท เช่น
งานเอกสาร หรืองานในสำนักงาน เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับจัดการด้านเอกสารรายงาน ตกแต่งภาพ ทำการ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์หรือสื่อทางการศึกษา ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น ซอฟแวร์ประมวลคำ และซอฟแวร์ตารางทำงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานประเภทนี้ไม่จำเป็นต้องใช้ซีพียูที่มีความเร็วสูง คือประมาณ 1 GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้อย 1 GB และอาจเลือกใช้จอภาพแบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17 – 19 นิ้ว เพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้องจ้องมองจอภาพตลอดเวลา
งานกราฟิก เป็นใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการเรียกใช้งานโปรแกรมหราฟิกหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ซอฟแวร์กราฟิกในการสร้างชิ้นงาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนำเสนอแบบมัลติมีเดีย สร้างเว็บไซต์ ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีการรับ-ส่งข้อมูลจำนวนมากที่มีทั้งภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้จำเป็นต้องมีซีพียูที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างสูง ประมาณ 2 GHz ขึ้นไปใช้แรมอย่างน้อย 2 GB ขึ้นไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก
งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ เป็นการออกแบบภาพ 3 มิติ สร้างภาพยนตร์ สร้างการ์ตูน แอนิเมชัน (animation) ตัดต่อวีดีทัศน์ ตัดต่อเพลง เล่นเกมที่มีกราฟิกสูง งานประเภทนี้ต้องการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคำนวณและแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ ดังนั้น ควรเลือกซีพียูที่มีความเร็วไม่น้อยกว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดแสดงผลที่สามารถแสดงภาพที่มีความละเอียดสูงได้ดีควรใช้จอภาพขนาดไม่ต่ำกว่า 24 นิ้ว และควรมีเครื่องสำรองไฟเนื่องจากการทำงานประเภทนี้คอมพิวเตอร์ต้องใช้เวลาในการประมวลผลนานถ้าหากไฟดับหรือไฟกระตุกจะไม่สะดวกในการเริ่มทำงานใหม่
3. ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง ปัจจุบันไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปซึ่งเราสามารถหัดประกอบด้วยตนเองได้ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นแรกให้เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
เช่น ไขควงสี่แฉก กล่องสำหรับใส่น็อต คู่มือเมนบอร์ด คีมปากจิ้งจก
นำซีพียูมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ตโดยให้วางตำแหน่งขาที่ 1 ของซีพียูและซ็อกเก็ตให้ตรง
กัน โดยสังเกตว่าที่ขาที่ 1 ของซีพียูจะทำเครื่องหมายเป็นจุดเล็กไว้ที่มุมด้านบนของ
ซีพียู
เดิม แล้วนำซิลิโคนมาทาตรงบริเวณคอร์ (แกน) ของซีพียู และไม่ควรทาซิลิโคนให้
หนา หากเห็นว่าหนาเกินไปให้ใช้กระดาษหรือแผ่นพลาสติกมาปาดออกเสียบ้าง
ในขั้นตอนนี้มีจุดที่ต้องระวังอยู่ 2 จุดคือ การติดตั้งฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบ
สนิทกับคอร์ของซีพียู อย่าพยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของซีพียูอาจบิ่นได้ ส่วนขา
สปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริง
ให้เข้าล็อก ซึ่งอาจทำให้พลาดไปขูดเอาลายปริ้นบนเมนบอร์ดขาดทำให้เมนบอร์ด
อาจเสียหายได้
จึงกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้าน
อาจไม่จำเป็นต้องดีดขึ้นมาก็ได้ให้ดูว่าเข้าล็อกกันก็พอ)
เมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสให้ครบทุกตัว
ปลั๊กของสายเพาเวอร์ซัพพลายตรงล็อกกับขั้วต่อบนเมนบอร์ด
ให้แน่น
หรือด้านที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟและสายสัญญาณเสียงเข้าไปด้วย
โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย
ที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟเข้าไปด้วย
สีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย
18. สอดไดรฟ์ฟล็อบปี้ดิสก์เข้าไปในช่องติดตั้ง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส
ให้แน่น
ให้แน่น
19. เสียบสายไฟเข้ากับขั้วต่อสายไฟของฟล็อบปี้ดิสก์ ให้สังเกตสายไฟของ
ฟล็อบปี้ดิสก์จะมีหัวขนาดเล็กกว่าสายไฟของซีดีรอมและฮาร์ดดิสก์
ฟล็อบปี้ดิสก์จะมีหัวขนาดเล็กกว่าสายไฟของซีดีรอมและฮาร์ดดิสก์
และซีดีรอม) ให้ด้านที่มีการไขว้สายเข้ากับขั้วต่อไดรฟ์ฟล็อบปี้ดิสก์ โดยแถบสีแดง
ของสายแพต้องตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย หากใส่ผิดด้านไฟของไดรฟ์
ฟล็อบปี้ดิสก์จะติดตลอด วิธีแก้ไขคือให้หันสายแพกลับด้านเพราะไดรฟ์ฟล็อบปี้ดิสก์
บางยี่ห้ออาจต้องใส่สลับด้านกัน
สีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือ pin1 ของขั้วต่อด้วย
สถานะเปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะฮาร์ดดิสก ปุ่ม Reset ลำโพง ลงบนเมนบอร์ด
ควรดูคู่มือเมนบอร์ดประกอบด้วย โดยต้องเสียบขั้วให้ถูกหากผิดขั้ว คอมพิวเตอร์
จะไม่ติดหรือมีไฟค้างตลอดเวลา วิธีแก้ไขคือให้เราลองสลับขั้วและเปิดเครื่องขึ้น
มาใหม่
ตกค้างอยู่บนเมนบอร์ดหรือไม่ เพราะอาจทำให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกิดความ
เสียหายต่อเมนบอร์ดและอุปกรณ์ต่างๆ บนเมนบอร์ดได้ นอกจากนี้ควรตรวจสอบ
การติดตั้งทั้งหมดว่าเรียบร้อยดีแล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบ
แน่นหนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัดลมต้องแนบสนิทกับซีพียู พร้อมทั้งล็อก
ติดกันอย่างแน่นหนา
ขั้นตอนการประกอบเครื่องอย่างถูกต้องและสมบูรณ์แบบแล้ว
4. การอ่านคุณลักษณะของเครื่อง
อันดับแรกเลยนะครับ ให้เราทำการโหลดโปรแกรม Cpu-z มาก่อนครับผม
ดาวโหลดได้ที่นี่ครับ : http://www.cpuid.com/download/cpuz/cpuz_151_setup.exe
จากนั้นให้ ติดตั้งเลยนะครับ วิธีติดตั้งก็ไม่มีไรครับ Next Next Next เหมือนโปรแกรมทั่วไปครับ
จากนั้นให้เข้าโปรแกรม Cpu-z โดยเข้าที่ Start>All Programs>CPUID>CPU-Z>Cpu-Z
จะเห็นหน้าตาโปรแกรม แบบนี้
อธิบายจากภาพนะครับ ขออธิบายแต่ในส่วนหลักๆ นะครับ
ส่วนของ CPU
ในส่วนของ Processer Name: ชื่อรุ่นของ CPU ที่เราใช้อยู่ Package: Socket ของ Cpu ที่เราใช้อยู่ Technology: เทคโนโลยีที่ใช้ผลิตรุ่นของ Cpu นั้นเอง
ในส่วนของ Clocks (core #0)
Core Speed : คือความเร็วสัญญาณนาฟิกาของ Cpu ที่เราใช้อยู่
ในส่วนของ Selection
Core : จากภาพ คือ 2 คือ Cpu เรามี 2 คอ
ต่อไปมาดู Mainboard กัน ว่าเราเป็นรุ่นอะไร
ให้เข้าที่เมนู Mainboard นะครับ จะได้แบบภาพ
จากภาพนะครับในส่วน
Manufacturer : คือค่ายที่ผลิตเมนบอร์ดของเรานั้นเอง Model : คือรุ่นของบอร์ดที่เราใช้อยู่ รุ่นอะไร เอาไว้เวลาไปโหลดไดร์เวอร์ก็ดูซะ ^^"
ต่อไปเรามาดูในส่วนของ RAM กันนะครับ ให้กดที่ Memory จะได้ดังภาพครับผม
Type : คือชนิดของแรมเรา อย่างภาพข้างต้นคือ DDR2 Size : คือขนาดของแรมที่เรามีอยู่ปัจจุบัน Dram Frequency : คือความเร็วที่วิ่งอยู่ปัจจุบัน
วิธีหาค่า Bus นำค่า Dram Frequency มา x2 ก็จะเป็นค่า Bus ของเครื่องเรา เช่นจากภาพเป็น 332.4 ให้ปัดขึ้นไปเลย ครับ จะเป็น 333 แล้วนำมา x2 จะเป็น 333x2 = 666 แล้วนำมา + 1 Bus ของเราจะ = Bus 667
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น